HR OUTSOURCE & SUBCONTRACT
กฎหมายจ้างเหมาค่าแรง สัญญาจ้างเหมาบริการ
Registration Fee: ฿ 18,500 / Delegate (Exclude Vat)
คบหาปรึกษาผู้เชี่ยวชาญชั้นนำ #มุ่งขจัดอุปสรรคธุรกิจ เร่งพิชิตอนาคตที่ดีกว่า#
10% OFF for 2-3 Persons | URGENT & CRITICAL | EXECUTIVE FORUM
Contact Us
Call & Line
Thai Speaking : 02-158-9892, 089-692-9900
English Speaking : 097-936-6304, 098-859-5596
Email : conference@omegaworldclass.org
ID Line : @omegaworldclass ADD
เจาะลึกคำพิพากษาศาลฎีกาล่าสุด ม.11/1 สิทธิประโยชน์และสวัสดิการในค่าครองชีพ
ของ “ลูกจ้างรับเหมาค่าแรง” – ผลกระทบต่อนายจ้าง
ครอบคลุมกฎหมายจ้างงานที่ท่านไม่ควรพลาด-จ้างเหมาค่าแรง-จ้างเหมาบริการ: กฎหมายและกรณีศึกษา
นับตั้งแต่มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551) เป็นต้นมา มีประเด็นปัญหาข้อกฎหมายและปัญหาในทางปฏิบัติในการจ้างงานของนายจ้างเกิดขึ้นมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของการจ้างเหมาค่าแรงที่ผู้ประกอบการใช้ในขบวนการผลิตรวมถึงการแก้ไขกฎหมายในส่วนของลูกจ้างทดลองงานให้ได้รับความคุ้มครองมากขึ้น และการปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำซึ่งล้วนแล้วแต่มีประเด็นปัญหาข้อกฎหมายที่น่าสนใจ และต้องระวังในการปฏิบัติเป็นอย่างยิ่ง ปัญหาข้อกฎหมายเหล่านั้นคืออะไร? ดังนั้นผู้บริหารและผู้ประกอบการควรได้เรียนรู้ประเด็นสำคัญเกี่ยวกับสัญญาจ้างแรงงานแบบ “เหมาค่าแรง” ตามพรบ. คุ้มครองแรงงาน มาตรา 11/1 ได้แก่ การจ้างลูกจ้างทดลองงาน ลูกจ้างชั่วคราว สัญญาจ้างที่มีกำหนดระยะเวลาการจ้างแน่นอน และควรได้รับทราบติดตามคำพิพากษาศาลแรงงาน ประเด็นที่เกี่ยวกับสัญญาจ้างแรงงานแบบ “เหมาค่าแรง” ประเด็นร้อนด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ โดยเฉพาะเจาะลึกคำพิพากษาศาลฎีกาล่าสุด ม.11/1 สิทธิประโยชน์และสวัสดิการในค่าครองชีพของ “ลูกจ้างรับเหมาค่าแรง” ผลกระทบต่อนายจ้าง
KEY LEARNING POINTS
• เจาะลึกพิเศษในประเด็นกฎหมายและวิธีการทำสัญญาจ้างเหมาค่าแรงตามพรบ.คุ้มครอง
• กฎหมายแรงงานฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 มาตรา 11/1 และกฏหมายสำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
• วิเคราะห์กรณีตัวอย่าง “สัญญาจ้างเหมาค่าแรง” ที่มักเป็นปัญหา วิธีป้องกันแก้ไข
• วิเคราะห์เชิงปฏิบัติการ “การทําสัญญาจ้างเหมาแรงงาน”
• เจาะลึกคำพิพากษาฎีกา ม.11/1 ผลกระทบต่อนายจ้าง & แนวทางป้องกันแก้ไขเยียวยา
เจาะลึกคำพิพากษาศาลฎีกาล่าสุด ม.11/1 สิทธิประโยชน์และสวัสดิการในค่าครองชีพของ “ลูกจ้างรับเหมาค่าแรง” – ผลกระทบต่อนายจ้าง
1. ความหมายและองค์ประกอบที่สำคัญของสัญญาจ้างเหมาค่าแรง
2. ลักษณะที่ทำให้เข้าข่ายการจ้างเหมาค่าแรงและที่ไม่เข้าข่าย
3. ความแตกต่างของการจ้างเหมาค่าแรงกับการจ้างเหมาบริการ
4. สิ่งสำคัญที่ควรระบุในสัญญาการจ้างเหมาค่าแรง: การจ้างเหมาบริการ การจ้างทำของการจ้างผู้รับเหมาชั้นต้น ผู้รับเหมาช่วง
5. รายละเอียดความรับผิดชอบของแต่ละฝ่ายที่แตกต่างกัน
6. ความรับผิดของนายจ้าง ผู้จ้างเหมาค่าแรง ผู้รับเหมาชั้นต้น และผู้รับเหมาช่วง
7. ความรับผิดของผู้ประกอบกิจการที่มีต่อลูกจ้างผู้รับเหมาค่าแรง
8. ความรับผิดต่อการทำละเมิดที่ลูกจ้างของผู้รับเหมาค่าแรงได้ไปกระทำต่อบุคคลภายนอก
9. ประเด็นปัญหาข้อพึงระวังและความรับผิดในการทำสัญญาแบบเหมาค่าแรงและเหมาช่วง
10. สาเหตุและเงื่อนไขที่ทำให้ลูกจ้างชั่วคราวกลายเป็นลูกจ้างประจำ
11. ลักษณะการทำสัญญาจ้างเหมาค่าแรงที่ไม่ถูกต้องหรือไม่รัดกุม
12. วิเคราะห์กรณีศึกษาจากตัวอย่างสัญญาที่ดี
13. เทคนิคการทำสัญญา ปัญหาและข้อควรระวังเกี่ยวกับการจ้างเหมาค่าแรง การรับเหมาช่วงและอื่นๆ
14. การฟ้องร้องบังคับชดใช้ค่าเสียหายกรณีลูกจ้างผิดสัญญา
15. คำพิพากษาศาลคดีแรงงานที่เกี่ยวกับมาตรา 11/1
16. คำวินิจฉัยที่น่าสนใจของเจ้าหน้าที่ตรวจแรงงานที่เกี่ยวกับมาตรา 11/1
COURSE LEADER
Mr. Sumit Masrungson, Senior Consultant, Siam Premier International Law Office
Over the past 29 years, he has served as lead trial lawyer mainly involving employment and construction contract disputes. Sumit is a member of Thai Bar Association and Lawyers Council of Thailand.