PRODUCT SAFETY RISK
& Product Liability Laws 

กฎหมายสินค้าที่ไม่ปลอดภัยและสินค้าที่มีความบกพร่อง
บริหารความเสี่ยงความรับผิดต่อความเสียหายทางการเงิน
เจาะลึกข้อกฎหมาย กรณีบทเรียน วิธีป้องกันแก้ไขความเสี่ยง

เข้าร่วมได้ทั้งโรงแรมระดับห้าดาว และทาง ZOOM Meeting

6 JULY 2023
Click BROCHURE for Full Details
15% OFF for 3 PERSONS

Contact Us

Contact us

 

Verification

Register

Call & Line

Brochure

        “สินค้าที่ไม่ปลอดภัยและสินค้าที่มีจุดบกพร่อง” อาจทำให้บริษัทของท่านต้องเกิดความเสี่ยงทางกฏหมายตามกฎหมายความรับผิดของสินค้า กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค และ กฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค นำมาซึ่งความเสียหายอย่างมหาศาลต่อธุรกิจทั้งด้านชื่อเสียงและค่าใช้จ่ายในการชดใช้ค่าเสียหาย 

UNSAFE & DEFECTIVE PRODUCTS
Can Cause Your Companies Great Damages, Severe Lost & Eventually Left Your Business in Ruin

LEARN TO MINIMISE RISKS FROM & DEFECTIVE PRODUCTS
Key Issues in Consumer Protection Law, Consumer Procedure Law & Product Liability Law
Product Liability Claims & Product Recalls- Handle ‘Litigation once Disputes Arise
Drafting Commercial Documents with the Implication of Product Liability Law
‘International Trade Contracts’: Product Liability Risks from ‘Imported Products’
Reputation Risk in the Face of Product Liability Crisis: Preventive Approaches

เป้าหมายในการเรียนรู้
• เข้าใจแง่มุมที่สำคัญของพระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๑ และแนวทางของกฏหมายเดียวกันในประเทศต่างๆ
เข้าใจผลกระทบต่อความเสี่ยงต่อธุรกิจในสถานการณ์ต่างๆและกลยุทธ์ในการป้องกัน/บรรเทาความเสี่ยง และความเสียหายจากการถูกฟ้องร้องคดีความเกี่ยวกับความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
• เข้าใจแนวทางที่องค์กรและสินค้าของท่านดำเนินการและผลิตได้อย่างสอดคล้องกับข้อกำหนดตามตัวบทกฎหมายว่าด้วยความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
• เข้าใจในกระบวนการฟ้องร้องและการเตรียมการต่อสู้คดี ตลอดจนวิธีการเลี่ยงไม่ให้ต้องถูกฟ้องร้องในคดี ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย

ประเด็นสำคัญที่ผู้บริหารควรทราบเพื่อลดความเสี่ยงจากความเสียหายจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย สร้างธุรกิจ ให้ยั่งยืนโดยรักษาความเชื่อมั่นของลูกค้า
1. พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย และ กฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในประเทศไทย:
ข้อกฎหมาย และ สถานการณ์ล่าสุด ผลอันเนื่องมาจากกฎหมาย
        1.1 การฟ้องร้อง และดำเนินคดีในศาล
       1.2 การดำเนินคดีแบบกลุ่ม (Class action)
       1.3 การเรียกร้องค่าเสียหายทางจิตใจ นอกจากค่าเสียหายที่แท้จริง
       1.4 การเรียกร้องค่าเสียหายเชิงลงโทษ
       1.5 การเรียกให้ผู้ถือหุ้นของบริษัทรับผิดชอบต่อผู้บริโภค
       1.6 หลัก Strict liability และ Piercing the corporate veil
2. กลยุทธ์และแผนการจัดการความเสี่ยงจากการฟ้องร้องความรับผิดต่อสินค้าและกระบวนการที่ดีในการเตรียมการเรียกคืนสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
3. การลดภาระความรับผิด “เมื่อมีการร้องเรียนเกิดขึ้น” เครื่องมือเกี่ยวกับขั้นตอนและกลยุทธ์การพิสูจน์ และกรณีศึกษา
4. กลยุทธ์การร่างและจัดการสัญญาธุรกิจกับคู่ค้าอย่างสอดคล้องกฏหมายความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
5. กลยุทธ์การร่างสัญญา และ จัดการสัญญาธุรกิจ กับ คู่ค้าต่างประเทศ ในการดำเนินการนำเข้าสินค้า เพื่อลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจาก “สินค้านำเข้า” ที่ไม่ปลอดภัย
       • กรณีศึกษา สัญญาตัวแทนจำหน่ายสินค้า
       • กรณีศึกษา สัญญา Exclusive right
6. การจัดการกับวิกฤตการณ์จากฟ้องร้องความรับผิดต่อสินค้าที่ไม่ได้คาดหมายและเสี่ยงต่อความเสียหายทางชื่อเสียง
       • ศึกษา คดีผู้บริโภคในคดีประเภทต่าง ๆ ที่มีการฟ้องร้องต่อศาล และ ร้องเรียนต่อสำนักงานคณะกรรมการผู้บริโภค (ส.ค.บ)

        ‘สินค้าที่ไม่ปลอดภัยและสินค้าที่มีจุดบกพร่อง’ อาจทำให้บริษัทของท่านต้องเกิดความเสี่ยงทางกฏหมายตาม ‘พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๑’ และนำมาซึ่งความเสียหายอย่างมหาศาลต่อธุรกิจทั้งด้านชื่อเสียงและค่าใช้จ่ายในการชดใช้ค่าเสียหาย ธุรกิจที่มีความเสี่ยงดังกล่าวมากเป็นพิเศษ ได้แก่ อาหารเครื่องดื่ม เครื่องอุปโภคบริโภค ยา เวชภัณฑ์ เครื่องสำอาง ยานยนต์ และเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์

WHO SHOULD ATTEND
Member of the Management Team & Executives in charge of the following areas:
– Corporate Lawyer, Legal Counsel or Legal Advisors
– Regulatory Affairs Directors/ Managers, Contract Managers
– Heads of Quality Assurance, Product Development
– Heads of Operations, Product Safety, Heads of Supply Chain
– Heads of Manufacturing & Heads of Production

KEY RELATED TOPICS

Consumer Protection, กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค, Product Liability, Product Liability Insurance, คดีผู้บริโภค, พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค, PRODUCT SAFETY RISK, PRODUCT SAFETY, defective product, unsafe product 

 

สถาบันนวัตกรรม ‘โอเมก้าเวิลด์คลาส’ สร้างสรรค์นำเสนอ
การสัมมนาเสวนาฝึกอบรมผู้บริหาร เพื่อความสำเร็จและความเป็นเลิศ
ขอเชิญท่านร่วมเรียนรู้ในหลักสูตร “ปัญหากฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค และความรับผิดต่อความเสียหายจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย”

Register

Brochure