DISCIPLINARY ACTION
& TERMINATION OF EMPLOYMENT
กลยุทธ์การดำเนินการทางวินัยกับพนักงาน ขั้นตอนรัดกุมเป็นธรรม ป้องกันปัญหาคดีความ
8 May 2025
✨พิเศษ! เหลือเพียง 12,950.- 💥เฉพาะ 10 ท่านแรก ลดสูงสุด 30%
การดำเนินการ…
“ทางวินัยและเลิกจ้างอย่างเป็นธรรม”
ผู้บริหารและเจ้าของธุรกิจโดยเฉพาะท่านที่ไม่ใช่นักกฎหมายควรได้เรียนรู้เพื่อปิดช่องว่างของการดำเนินการทางวินัยกับพนักงาน ตั้งแต่ก่อนที่จะเกิดปัญหา ก่อนการดำเนินการทางวินัย และก่อนเกิดการฟ้องร้อง ท่านควรทำความเข้าใจในหลักการและความสำคัญของกฎหมายที่เกี่ยวกับการเขียนคำสั่งเลิกจ้างหนังสือเตือน เพื่อที่จะสามารถเขียนคำสั่งเลิกจ้างได้โดยไม่ผิดกฎหมายและไม่ถูกฟ้องย้อนหลัง รวมทั้งมีความรู้ความเข้าใจในเทคนิค และวิธีการใช้มาตรการทางวินัยที่ถูกต้อง และการใช้มาตรการลงโทษอย่างสร้างสรรค์เพื่อลดความเสี่ยงในนิติสัมพันธ์ของการจ้างงานไว้ล่วงหน้า
การดำเนินการทางวินัยและการสอบสวนก่อนดำเนินการเลิกจ้าง
The disciplinary proceedings and investigations before laying off
-
นายจ้างเลิกจ้างผิดพลาด มี 18 ข้อ อะไรบ้าง
(18 pointers on wrongful terminations mistakes by employer) -
ข้อกฎหมาย ที่จ่ายตามผลงานมีข้อควรระมัดระวังอย่างไร
(Legal precaution on the topic of pay by performance) -
วิธีเขียนคำสั่งเลิกจ้าง 34 ข้อ
(34 pointers to take note of when writing a termination letter) -
ฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานกรณีร้ายแรงดูจากอะไร?
(What to look for when serious violations are committed at work) -
พรบ.คุ้มครองแรงงาน มาตรา 119 ต่างกับ พรบ.แรงงานสัมพันธ์ มาตรา 123 อย่างไร
(The difference between Labour Protection Act Section 119 and the Labour Relations Act Section 123) -
ขั้นตอนของคณะสอบสวน มี 9 ข้อ
(9 points of the stages of the investigations) -
วิธีแจ้งข้อกล่าวหา มี 5 ข้อ
(5 points on how to report allegations) -
หลักเกณฑ์การพิจารณาโทษ มี 9 ข้อ
(9 criteria for determining a penalty) -
เลิกจ้างไม่เป็นธรรมตาม พรบ.จัดตั้งศาล พ.ศ. 2522 มาตรา 49 มี 13 ข้อ
(13 pointers on unfair dismissal according to the law Established 2522 Section 49) -
ก่อนลงโทษ ต้องพิจารณาให้ครบองค์ประกอบความผิดสำเร็จ
(Before punishment wrongful doing must be proven beyond doubt) -
วิธีสอบสวนมี 16 ข้อ
(16 pointers on investigation techniques) -
รูปร่างหน้าตาของหนังสือสอบสวนมีสาระสำคัญ 9 ข้อ
(9 important pointers on the format of the investigative documents) -
วิธีกำหนดประเด็นการสอบสวน และการตั้งคำถามในการสอบสวนควรทำอย่างไร
(How to approach and determined what questions to use during investigation) -
แบบฟอร์มการลงโทษทางวินัย มี 13 ข้อ
(13 keys to note on the disciplinary form) -
หลักในการพิจารณาความผิดลูกจ้าง มี 5 ข้อ
(5 pointers on how to determine and decide an employee wrong doings) -
ข้อควรระวังในการเขียนหนังสือเตือน 18 ข้อ
(18 pointers on what to be aware of while writing a warning letter)
- หลักคิดและขั้นตอนสำคัญในการดำเนินการทางวินัยกับพนักงานและการเลิกจ้าง
- เทคนิควิธีการการสอบสวนก่อนการดำเนินการทางวินัยและเลิกจ้าง
- ขั้นตอนและวิธีการเขียนคำสั่งเลิกจ้างที่ชอบด้วยกฎหมาย
- วิธีการแก้ไขปัญหาจากภาคปฏิบัติในการสอบสวน การเขียนหนังสือแจ้งโทษและลงมือเขียนคำสั่งเลิกจ้าง
- แนวทางแก้ไขปัญหาอย่างเฉพาะเจาะจงตรงสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้นในองค์กรของตน
CEOs and Managing Directors Directors, Vice Presidents, General Managers and Heads of
- Legal Counsel
- HRM
- Industrial Employee Relations
- Labor Union Relations
- Compensation and Benefits
- Partners/Managing Directors
- HRM Solution Providers
- HRM Consultants
- HR Legal Advisors
Mr. Paiboon Thamsathitmun
Managing Director
PAIBOON NITI
Thailand’s Leading Expert on Labour Laws and Litigations with Over 30 Years of Experiences
Mr. Paiboon’s practice focuses mainly on all aspects of labour and employment law. He has a long list of experiences in representing multi-national and local corporate clients in labour and employment matters concerning lay-off, redundancy, employments benefits and labour relations matters.
Mr.Paiboon has also acted as the trial counsel for employer companies in labour litigation in the Central Labour Court for more than 1,300 cases, and acted as a legal advisor for his clients for more than 1,000 companies.
อาจารย์ไพบูลย์ ธรรมสถิตย์มั่น เป็นผู้คร่ำหวอดทางกฏหมายที่เน้นเฉพาะเรื่องกฎหมายแรงงานมานานกว่า 30 ปี และมีประสบการณ์ในการดำเนินคดีสำคัญๆ หลายคดี
8:30 – 9:00 | Registration & Morning Coffee |
9:00 – 10:30 | Program Commences |
10:30 – 10:45 | Morning Break |
10:45 – 12:15 | Program Continued |
12:15 – 13:30 | Lunch & Networking |
13:30 – 15:00 | Program Continued |
15.00 – 15:15 | Afternoon Break |
15:15 – 16:45 | End of Program |
ABB | CP Retailink |
Phatra Leasing | Thai Bridgestone |
AP (Thailand) | Hino Motors Manufacturing (Thailand) |
PTT | The Siam Cement |
AXA Insurance | Kiatnakin Phatra Securities |
Siam City Cement | True Corporation |
Bangkok Life Assurance | Linfox M Logistics (Thailand) |
Southeast Life Insurance | Yip In Tsoi & |
Bumrungrad International Hospital | Panasonic Energy (Thailand) |
Symphony Communication | Zoetis (Thailand) |
Key Related Topics
- Disciplinary Action Procedures
- Termination of Employment Laws
- Employment Termination Strategies
- Workplace Investigation Techniques
- Legal Compliance in HR Practices
- ขั้นตอนการดำเนินการทางวินัย
- กฎหมายการเลิกจ้างพนักงาน
- กลยุทธ์การเลิกจ้างพนักงาน
- เทคนิคการสอบสวนในสถานที่ทำงาน
- การปฏิบัติตามกฎหมายในการบริหารทรัพยากรมนุษย์
โอเมก้าเวิลด์คลาสวิจัยพัฒนาหลักสูตรสัมมนาฝึกอบรม เพื่อผู้นำผู้บริหารเรียนรู้สู่ความสำเร็จแห่งอนาคต